วันเสาร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

AuOvOm~Millau




Millau






The Millau Viaduct (French: le Viaduc de Millau) is a large cable-stayed road-bridge that spans the valley of the River Tarn near Millau in southern France. Designed by the structural engineer Michel Virlogeux and British architect Norman Foster, it is the tallest vehicular bridge in the world, with one mast's summit at 343 metres (1,125 ft) — slightly taller than the Eiffel Tower and only 38 m (125 ft) shorter than the Empire State Building. The viaduct is part of the A75-A71 autoroute axis from Paris to Béziers. It was formally dedicated on 14 December 2004, inaugurated the day after and opened to traffic two days later. The bridge won the 2006 IABSE Outstanding Structure Award.




Construction records




The bridge’s construction broke three world records:



The highest pylons in the world: pylons P2 and P3, 244.96 metres (803 ft 8 in) and 221.05 metres (725 ft 3 in) in height respectively, broke the French record previously held by the Tulle and Verrières Viaducts (141 m/460 ft), and the world record previously held by the Kochertal Viaduct (Germany), which is 181 metres (590 ft) at its highest;



The highest mast in the world: the mast atop pylon P2 peaks at 343 metres (1,130 ft).



The highest road bridge deck in the world, 270 m (890 ft) above the Tarn River at its highest point. It is nearly twice as tall as the previous tallest vehicular bridge in Europe, the Europabrücke in Austria. It is slightly higher than the New River Gorge Bridge in West Virginia in the United States, which is 267 m (880 ft) above the New River. Only the bridge deck of the Royal Gorge Bridge in Colorado, United States (mainly a pedestrian bridge over the Arkansas River, occasionally also used by motor vehicles) is higher with 321 m (1,050 ft), and is considered the highest bridge in the world.




The record for highest bridge deck in the world is likely to be taken by the Chenab Bridge in the Reasi District of Jammu and Kashmir, India, scheduled for completion in December 2009, which will be 359 metres (1,180 ft) high.











Location




The Millau Viaduct is located on the territory of the communes of Millau and Creissels, France, in the département of Aveyron. Before the bridge was constructed, traffic had to descend into the Tarn River valley and pass along the route nationale N9 near the town of Millau, causing heavy congestion at the beginning and end of the July and August vacation season. The bridge now traverses the Tarn valley above its lowest point, linking two limestone plateaux, the Causee du Larzac and the Causse Rouge, and is inside the perimeter of the Grands Causses regional natural park.




The bridge forms the last link of the A75 autoroute, (la Méridienne) from Clermont-Ferrand to Pézenas (to be extended to Béziers by 2010). The A75, with the A10 and A71, provides a continuous high-speed route south from Paris through Clermont-Ferrand to the Languedoc region and through to Spain, considerably reducing the cost of vehicle traffic travelling along this route. Many tourists heading to southern France and Spain follow this route because it is direct and without tolls for the 340 kilometres (210 mi) between Clermont-Ferrand and Pézenas, except for the bridge itself.




The Eiffage group, which constructed the viaduct, also operates it, under a government contract which allows the company to collect tolls for up to 75 years. The toll bridge costs 5.60 for light automobiles (€7.40 during the peak months of July and August).

วันอาทิตย์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

AuOvOm~Before Valentine...เหตุการณ์ที่คนไทยมิอาจลืม


Before Valentine...เหตุการณ์ที่คนไทยมิอาจลืม



วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 ที่คนไทยทั้งประเทศมิอาจลืมเลือนได้...เพราะมันคือ วันที่เราต้องเสียดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงให้กับฝรั่งเศส เป็นการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ก่อน
14 กุมภา วันแห่งความรัก


โดยเหตุการณ์การสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ในครั้งนั้น เกิดจากการล่าอาณานิคมของฝรั่งเศส โดยก่อนหน้าปี 2466 ไทยก็เสียดินแดนให้กับฝรั่งเศสไปถึงสามครั้งแล้ว ได้แก่


ครั้งที่ 1

ในสมัยรัชกาลที่ 4 ใน พ.ศ. 2410 ไทยเสียเขมรส่วนนอกและเกาะอีก ๖ เกาะ ให้แก่ฝรั่งเศส นับเป็นการเสียดินแดนครั้งแรกในรัชกาลของพระองค์

ในสมัยรัชกาลที่ 5 เสียดินแดนทั้งหมด 4 ครั้ง คือ

ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2431

หลังจากที่ไทยได้ปราบพวกฮ่อเรียบร้อยแล้วใน พ.ศ. 2428 ในปีต่อมาฝรั่งเศสเข้ามาขอทำสัญญากับไทย ตั้งศาลกงสุลที่นครหลวงพระบาง และตั้งให้ ม. ปาวีร์ เป็นกงสุล ใน พ.ศ.2430 พวงฮ่อได้เข้ามาปล้นเมืองหลวงพระบางอีก แต่ไทยก็ปราบฮ่อได้อีก ซึ่งครั้งนี้ ม. ปาวีร์ ตกอยู่ในอันตราย ซึ่งไทยช่วยให้รอดชีวิตมาได้ การปราบฮ่อทุกครั้งฝรั่งเศสไม่เคยช่วยเลย แต่เมื่อไทยปราบฮ่อเสร็จแล้วฝรั่งเศสกลับมายึดเอาแคว้นสิบสองจุไทยและหัวพันทั้งห้าทั้งหกไว้ โดยอ้างว่าเอาไว้เป็นกำลังปราบฮ่อ ไทยจะเจรจาอย่างไรฝรั่งเศสไม่ยอมถอยทัพกลับ ฉะนั้นใน พ.ศ. 2431 แคว้นสิบสองจุไทยจึงตกเป็นของฝรั่งเศส


ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2436 (ร.ศ. 112)


ฝรั่งเศสแต่งตั้ง ม. ปาวีร์ เป็นอัคราชทูตฝรั่งเศสประจำกรุงเทพ ฯ ในระหว่างนี้ฝรั่งเศสอ้างสิทธิว่าดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงเดิมเป็นของญวนและเขมร ดังนั้นฝรั่งเศสควรมีสิทธิครอบครองดินแดนนี้ด้วย และในการปักปันเขตแดนนี้ฝรั่งเศสได้ถือโอกาสเอาแม่น้ำโขงเป็นหลัก ไทยเราไม่ยอม ฝรั่งเศสส่งทหารญวนลุกล้ำเข้ามาจึงเกิดการปะทะกับทหารไทยที่รักษาดินแดนอยู่ และยังได้ส่งเรือนำร่องมาจากพนมเปญมาตามลำน้ำโขง เกิดปะทะกับฝ่ายไทยและต่อมาไม่นานก็ได้ส่งเรือรบ 2 ลำ ใน พ.ศ. 2436 เข้ามาในอ่าวไทยโดยอาศัยเรือสินค้าเป็นเรือนำร่อง เจ้าหน้าที่ไทยที่ป้อมพระจุลจอมเกล้าฯ ส่งสัญญาณห้ามให้หยุดไม่เป็นผล จึงยิงลูกหลอกขู่ ฝรั่งเศสได้ระดมยิงเรือไทย คือเรือมกุฎราชกุมารของไทยเสียหาย ส่วนเรือนำร่องของฝรั่งเศสถูกยิงชำรุด แต่เรือรบ 2 ลำ คือเรือแองคองสตังต์และเรือโคเมตได้แล่นสู่กรุงเทพ ฯ จอดหน้าสถานทูตฝรั่งเศส ม. ปาวีร์ ได้ยื่นคำขาดให้ตอบภายใน ๔๘ ชั่วโมง ดังนี้คือ



1. ให้ไทยยอมรับว่าดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ตลอดทั้งเกาะต่าง ๆ ในลำน้ำโขงเป็นของฝรั่งเศสทั้งสิ้น และไทยถูกบังคับให้ถอนทหารชายแดนทั้งหมด

2. เสียค่าปรับ ค่าทำขวัญแก่ฝรั่งเศส เป็นเงินไทยประมาณ 3 ล้านบาท และเงินฝรั่งเศส 2 ล้านฟรังก์


ไทยขอให้เสนอมหาประเทศพิจารณา ถ้าฝรั่งเศสมีหลักฐานอ้างอิงได้ว่าดินแดนแถบนี้เป็นของญวนและเขมรก็จะยอมยกให้ ฝรั่งเศสไม่ยอมและพร้อมกันนี้ก็ประกาศปิดอ่าวไทย เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2436 ไทยต้องยอมทำตามคำขาดของฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2436


ต่อมา ฝรั่งเศสได้ยึดเมืองจันทบุรีไว้เป็นประกันอีกเป็นเวลา 10 ปี แต่เมื่อไทยได้ปฏิบัติตามสัญญาครบถ้วนแล้ว ฝรั่งเศสก็ไม่ยอมถอนทหารจากจันทบุรี จันทบุรีเป็นดินแดนสำคัญในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ฉะนั้น ไทยต้องทำสัญญากับฝรั่งเศสอีก 2 ฉบับ



ฉบับที่ 1 ใน พ.ศ.2445 ไทยยอมทำสัญญาแลกเปลี่ยนยอมยกเมืองจำปาศักดิ์ มโนไพร ให้แก่ฝรั่งเศส โดยฝรั่งเศสจะยอมยกออกจากเมืองจันทบุรี แต่แล้วฝรั่งเศสก็ไม่ยอมถอนทหารจากจันทบุรี


ฉบับที่ 2 ใน พ.ศ. 2446 ไทยต้องทำสัญญาอีก กำหนดเขตแดนระหว่างไทยกับเขมรโดยใช้ภูเขาบรรทัดเป็นหลัก และยกดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงตรงข้ามเมืองหลวงพระบางให้แก่ฝรั่งเศส และให้ฝรั่งเศสเช่าที่ทำท่าเรือที่หนองคาย มุกดาหาร และปากน้ำมูลได้


สัญญาฉบับที่ 2 ในปี 2446 นี้เอง ไทยต้องสูญเสียดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงไปอีก ในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2466 นับได้ว่า เป็นการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ ก่อนจะเป็นวันแห่งความรัก ที่คนไทยมิอาจลืมเลือนได้เลยจริงๆ


และหลังจาก 13 กุมภาพันธ์ 2446 ไทยเราก็ต้องสูญเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศสอีกครั้ง ซึ่งถือเป็นคร้งสุดท้าย ในปี 2449 โดยเสียพระตะบอง เสียมราฐ และ ศรีโสภณ
สรุปการเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศส



ครั้งที่ ปี พ.ศ. เสียดินแดน ประมาณเนื้อที่

1. 2410 เสียส่วนใหญ่ของประเทศเขมรและเกาะ 6 เกาะ 124,000 ตร.กม.
2. 2431 เสียแคว้นสิบสองจุไทย 87,000 ตร.กม.
3. 2436 เสียฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง 243,000 ตร.กม.
4. 2446 เสียฝั่งขวาแม่น้ำโขง 62,500 ตร.กม.
5. 2449 เสียจังหวัดพระตะบอง เสียมราฐ และศรีโสภณ 51,000 ตร.กม.



วันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

AuOvOm~VALENTINE





VALENTINE









(Saint) Valentine's Day is a holiday celebrated on February 14 by many people throughout the world. In the West, it is the traditional day on which lovers express their love for each other by sending Valentine's cards, presenting flowers, or offering confectionery. The day was originally a pagan festival that was renamed after two Early Christian martyrs named Valentine. The day became associated with romantic love in the circle of Geoffrey Chaucer in the High Middle Ages, when the tradition of courtly love flourished.
The day is most closely associated with the mutual exchange of love notes in the form of "valentines." Modern Valentine symbols include the heart-shaped outline, doves, and the figure of the winged
Cupid. Since the 19th century, handwritten notes have largely given way to mass-produced greeting cards. The sending of Valentines was a fashion in nineteenth-century Great Britain, and, in 1847, Esther Howland developed a successful business in her Worcester, Massachusetts home with hand-made Valentine cards based on British models. The popularity of Valentine cards in 19th-century America was a harbinger of the future commercialization of holidays in the United States.
The U.S.
Greeting Card Association estimates that approximately one billion valentines are sent each year worldwide, making the day the second largest card-sending holiday of the year, behind Christmas. The association estimates that, in the US, men spend in average twice as much money as women.




Saint Valentine



Numerous early Christian martyrs were named
Valentine. Until 1969, the Catholic Church formally recognized eleven Valentine's Days. The Valentines honored on February 14 are Valentine of Rome (Valentinus presb. m. Romae) and Valentine of Terni (Valentinus ep. Interamnensis m. Romae). Valentine of Rome was a priest in Rome who suffered martyrdom about AD 269 and was buried on the Via Flaminia. His relics are at the Church of Saint Praxed in Rome. and at Whitefriar Street Carmelite Church in Dublin, Ireland.
Valentine of Terni
became bishop of Interamna (modern
Terni) about AD 197 and is said to have been killed during the persecution of Emperor Aurelian. He is also buried on the Via Flaminia, but in a different location than Valentine of Rome. His relics are at the Basilica of Saint Valentine in Terni (Basilica di San Valentino).
The
Catholic Encyclopedia also speaks of a third saint named Valentine who was mentioned in early martyrologies under date of February 14. He was martyred in Africa with a number of companions, but nothing more is known about him.
No romantic elements are present in the original early medieval biographies of either of these martyrs. By the time a Saint Valentine became linked to romance in the fourteenth century, distinctions between Valentine of Rome and Valentine of Terni were utterly lost.
In the 1969 revision of the
Roman Catholic Calendar of Saints, the feastday of Saint Valentine on February 14 was removed from the General Roman Calendar and relegated to particular (local or even national) calendars for the following reason: "Though the memorial of Saint Valentine is ancient, it is left to particular calendars, since, apart from his name, nothing is known of Saint Valentine except that he was buried on the Via Flaminia on February 14." The feast day is still celebrated in Balzan (Malta) where relics of the saint are claimed to be found, and also throughout the world by Traditionalist Catholics who follow the older, pre-Vatican II calendar.
The Early Medieval
acta of either Saint Valentine were excerpted by Bede and briefly expounded in Legenda Aurea. According to that version, St Valentine was persecuted as a Christian and interrogated by Roman Emperor Claudius II in person. Claudius was impressed by Valentine and had a discussion with him, attempting to get him to convert to Roman paganism in order to save his life. Valentine refused and tried to convert Claudius to Christianity instead. Because of this, he was executed. Before his execution, he is reported to have performed a miracle by healing the blind daughter of his jailer.
Legenda Aurea still providing no connections whatsoever with sentimental love, appropriate lore has been embroidered in modern times to portray Valentine as a priest who refused an unattested law attributed to
Roman Emperor Claudius II, allegedly ordering that young men remain single. The Emperor supposedly did this to grow his army, believing that married men did not make for good soldiers. The priest Valentine, however, secretly performed marriage ceremonies for young men. When Claudius found out about this, he had Valentine arrested and thrown in jail. In an embellishment to The Golden Legend, on the evening before Valentine was to be executed, he wrote the first "valentine" himself, addressed to a young girl variously identified as his beloved, as the jailer's daughter whom he had befriended and healed, or both. It was a note that read "From your Valentine."





วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

AuOvOm~วันมาฆบูชา

วันมาฆบูชา










วันมาฆบูชา (บาลี: มาฆปูชา; อังกฤษ: Magha Puja) เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย[1] "มาฆบูชา" ย่อมาจาก "มาฆปุรณมีบูชา" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ ตามปฏิทินของอินเดีย หรือเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย (มักอยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ หรือเดือนมีนาคม) ถ้าในปีใดมีเดือน 8 สองหน (ปีอธิกมาส) ก็เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน 3 หลัง (วันเพ็ญเดือน 4)[2]
วันมาฆบูชา ได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่าปีก่อน คือเมื่อ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช อันเป็นปีแรกแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ในวันเพ็ญเดือนมาฆะ (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3) ณ วัดเวฬุวันมหาวิหาร วัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ที่เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ ในวันนี้ พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ท่ามกลางที่ประชุมมหาสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนา โดยมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้นพร้อมกัน 4 ประการ คือ พระสงฆ์สาวกที่มาประชุมพร้อมกันทั้ง 1,250 รูปนั้นได้มาประชุมกันยังวัดเวฬุวันโดยมิได้นัดหมาย, พระสงฆ์ที่มาประชุมทั้งหมดต่างล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" หรือผู้ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง, พระสงฆ์ทั้งหมดที่มาประชุมล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 6, และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญมาฆปุรณมีดิถี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกคำหนึ่งว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" หรือ วันที่มีการประชุมพร้อมด้วยองค์ 4[3]
เดิมนั้นไม่มีการประกอบพิธีมาฆบูชาในประเทศพุทธเถรวาท จนมาในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) พระองค์ได้ทรงปรารภถึงเหตุการณ์ครั้งพุทธกาลในวันเพ็ญเดือน 3 ดังกล่าวว่า เป็นวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญยิ่ง ควรมีการประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่ตั้งแห่งความศรัทธาเลื่อมใส จึงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชกุศลมาฆบูชาขึ้น[4] โดยการประกอบพระราชพิธีคงคล้ายกับวันวิสาขบูชา คือมีการบำเพ็ญพระราชกุศลต่าง ๆ มีการพระราชทานจุดเทียนตามประทีปเป็นพุทธบูชาในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และพระอารามหลวงต่าง ๆ เป็นต้น โดยในช่วงแรกพิธีมาฆบูชาคงเป็นการพระราชพิธีภายใน ยังไม่แพร่หลายทั่วไป จนต่อมาความนิยมจัดพิธีมาฆบูชาจึงได้ขยายออกไปทั่วราชอาณาจักร
ปัจจุบันวันมาฆบูชาได้รับการประกาศให้เป็นวันหยุดราชการในประเทศไทย
[1] โดยพุทธศาสนิกชนทั้งพระบรมวงศานุวงศ์[5] พระสงฆ์ และประชาชน จะมีการประกอบพิธีต่าง ๆ เช่น การตักบาตร การฟังพระธรรมเทศนา การเวียนเทียน เป็นต้น เพื่อเป็นการบูชารำลึกถึงพระรัตนตรัยและเหตุการณ์สำคัญดังกล่าว ที่ถือได้ว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์[6] กล่าวคือหลักคำสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา อันได้แก่ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง การบำเพ็ญความดีให้ถึงพร้อม และการทำจิตของตนให้ผ่องใส เพื่อเป็นหลักปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนทั้งมวล
นอกจากนี้ ในปี
พ.ศ. 2549 รัฐบาลไทยได้ประกาศให้วันมาฆบูชา ให้เป็น "วันกตัญญูแห่งชาติ" เนื่องจากปัจจุบันสังคมไทยวัยรุ่นสาวมักจะเสียตัวในวันวาเลนไทน์หลายหน่วยงานจึงพยายามรณรงค์ให้วันมาฆบูชาเป็นวันแห่งความรัก (อันบริสุทธิ์) แทน
สำหรับในปี
พ.ศ. 2552 นี้ วันมาฆบูชาจะตรงกับ วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ ตามปฏิทินสุริยคติ






"วันมาฆบูชา" เป็นวันที่ระลึกถึงวันที่พระพุทธเจ้าทรงประทาน
โอวาทปาฏิโมกข์แก่มหาสังฆสันนิบาตในมณฑลวัดเวฬุวันมหาวิหาร ซึ่งในวันนั้นมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการคือ
พระ
อรหันต์สาวก 1,250 รูปที่พระพุทธองค์ได้ส่งไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาตามแว่นแคว้นต่างๆ ได้กลับมาเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ เวฬุวันมหาวิหาร กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ
พระอรหันต์สาวกหรือพระสงฆ์ทั้ง 1,250 รูปนี้ล้วนเป็น
เอหิภิกขุที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ด้วยพระองค์เองทั้งสิ้น เรียกว่าพิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา
พระอรหันต์สาวกทั้ง 1,250 รูปนี้ ต่างได้มาประชุมพร้อมเพรียงกันโดยมิได้นัดหมาย
วันที่พระสงฆ์ 1,250 องค์มาชุมนุมกันโดยมิได้นัดหมายนี้ ตรงกับวันเพ็ญเดือนมาฆะ (วันเพ็ญกลางเดือนสาม)
ด้วยเหตุการณ์ประจวบกับ 4 อย่าง จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "
จาตุรงคสันนิบาต" (มาจากศัพท์บาลี จาตุร+องฺค+สนฺนิปาต แปลว่า การประชุมอันประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสี่ประการ) โดยประชุมกัน ณ วัดเวฬุวันมหาวิหาร เมืองราชคฤห์ หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว 9 เดือน (45 ปี ก่อนพุทธศักราช)